Surface water & Groundwater
Surface water (0.01%)
Runoff = Surface run-off = Overland flow = น้ำที่ไหลอยู่บนผิวดิน
Types of overland flow
1. "Infiltration excess overland flow" = เป็นน้ำฝนส่วนเกินจากการซึมลงดิน
2. "Saturation excess overland-flow" = เป็นน้ำไหลจากพื้นผิวที่อิ่มตัวด้วยน้ำ
Factors influencing infiltration (ปัจจัยที่มีผลต่อการซึมลงผิวดิน)
- Intensity & duration of rainfall = ปริมาณน้ำฝนมาก ซึมได้มาก
- Soil texture = ดินเม็ดใหญ่ ซึมได้มาก
- Slope of the land = ความชันน้อย ซึมได้มาก
- Vegetative cover = ปลูกพืชคลุมจะดูดน้ำได้มากกว่า
- Other
Development of a stream
- Sheet flow = น้ำที่ไหลไปตามที่ราบ
- Channel flow rill = ทางน้ำขนาดเล็ก
- Channel flow stream = ทางน้ำขนาดใหญ่
- Headward erosion = การกัดกร่อนทางต้นน้ำ ต้นน้ำจะมีขนาดเล็ก ไหลไปรวมยังแม่น้ำสายใหญ่
- Gully = ลำธาร
Drainage Basin
- Drainage basin = Catchment area = Catchment basin = Water catchment = พื้นที่รับน้ำ
- Drainage divide = Watershed = สันปันน้ำ, ผีปันน้ำ
- Stream order = ลำดับทางน้ำ
ยิ่งมีลำดับ stream ขนาดใหญ่ ยิ่งมีพื้นที่ขนาดใหญ่
Base Level
= the downward limit of stream erosion = ระดับต่ำสุดที่น้ำกัดกร่อนได้ ขึ้นอยู่กับระดับน้ำใต้ดิน
(การกัดกร่อนและสะสมตัวของลำธาร)
- Cut bank = ตลิ่งชัน = ฝั่งที่ถูกกัดกร่อน บริเวณที่น้ำลึกไหลแรง
- Point bank = สันดอนแม่น้ำ = ฝั่งที่สะสมตัว บริเวณที่น้ำไหลช้า
บริเวณที่น้ำไหลแรงที่สุดคือ ตรงกลางลึกลงไปประมาณ 20%
Transportation & Deposition of sediment
- Transportation = ทำให้เกิด Sorted (การจัดเรียงขนาด) ตะกอนขนาดใหญ่อยู่ต้นน้ำ ตะกอนขนาดเล็กถูกพัดไปปลายน้ำ
- Deposition = well-sorted เกิดเป็น Alluvium (ตะกอนที่เกิดจากน้ำ)
Modes of sediment movements
- bed load = ตะกอนที่อยู่ติดก้นน้ำ
- saltation load = ตะกอนที่ลอยขึ้นมาและตกลงก้นน้ำ
- suspended load = ตะกอนที่ลอยกลางน้ำ
Types of streams
- braided streams = ทางน้ำประสานสาย
- straight streams = ทางน้ำสายตรง
- meandering streams = ทางน้ำโค้งตวัด
- oxbow lake = ทะเลสาบรูปแอก = เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว
- meander scar = ทะเลสาบรูปแอกเก่า = เกิดจากทะเลสาบรูปแอกที่แห้งแล้ว
อธิบายการเกิดความหลากหลายของทางน้ำ
Pothole (กุมภลักษณ์)
= หลุมที่เกิดจากกระแสน้ำไหลวน ใช้เวลานาน ปรากฏให้เห็นในฤดูแล้ง และจะจมอยู่ใต้น้ำในฤดูน้ำหลาก
สามพันโบก จ.อุบลราชธานี หรือที่เรียกว่า แกรนด์แคนยอนเมืองไทย เกิดใต้ลำน้ำโขง
Floodplain (ที่ราบน้ำท่วมถึง)
Natural levees (คันดินธรรมชาติ)
River Terrace (ลานตะพักลำน้ำ)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น